ข่าว โลก วัน นี้: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations, FAO) กำหนดให้วันที่ 16 ตุลาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันก่อตั้ง FAO เป็นวันอาหารโลก (World Food Day) เพื่อกระตุ้นเตือนให้ทุกภาคส่วนร่วมกันขจัดความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ ที่ผู้คนหลายร้อยล้านคนทั่วโลกกำลังเผชิญอยู่ ในโลกสมัยใหม่ที่เทคโนโลยีเข้ามีบทบาทมากขึ้น จึงมีโครงการที่ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยเพิ่มผลผลิตและเพาะปลูกในภาวะที่แห้งแล้ง
“โครงการอาหารโลก” คว้าโนเบลสันติภาพ
อาหาร-น้ำปนเปื้อน คร่าชีวิตมนุษย์ถึง 4.2 แสนคน/ปี มากกว่าโรคเอดส์!
ที่มาของวันอาหารโลกเกิดขึ้นวันแรกในปี พ.ศ. 2524 รัฐสมาชิกขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ในการประชุมทั่วไปครั้งที่ 20 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2522 คณะผู้แทนฮังการี นำโดยอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและอาหารของฮังการี ดร.พอล โรมานี เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในสมัยการประชุมครั้งนั้น ได้เสนอแนวคิดในการเฉลิมฉลองวันอาหารโลกทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งให้ประเทศต่าง ๆ มีจิตสำนึกเรื่องอาหารและการพัฒนา เสริมสร้างความสมานฉันท์ระดับชาติ และ นานาชาติในการต่อสู้กับความอดอยากหิวโหย
มีการตั้งคำถามว่าความอดอยาก ความหิวโหย และทุพโภชนาการ เกิดจากอะไร?
- อาหารที่ถูกผลิตออกมาในแต่ละปีมีปริมาณเพียงพอต่อการเลี้ยงประชากรทุกคนบนโลกนี้
- ประชากรกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก หรือประมาณ 1 ใน 9 ของประชากรโลก ยังคงประสบกับปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการอยู่
- คนเหล่านี้มักจัดอยูในกลุ่มคนที่ไม่มีพื้นที่ให้เพาะปลูก หรือไม่ก็ไม่มีเงินซื้ออาหาร
- 98% ของปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยอยู่ในทวีปเอเชียกว่า 500 ล้านคน
ความอดอยาก และ ความหิวโหย เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เด็กๆ ต้องลาโลกไปก่อนวัยอันควร โดยในปี 2010 มีเด็กตายกว่า 7.6 ล้านคน หรือคิดเป็น 20,000 คนต่อวัน ในจำนวนนี้ มากกว่าครึ่งหนึ่งเกิดจากสาเหตุทางด้านโภชนาการ เด็ก 1 ใน 15 คน ในประเทศกำลังพัฒนาที่เสียชีวิตก่อนอายุครบ 5 ปี ปัญหานี้ทำให้คนไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำมาซึ่งความยากจนและอดอยาก เป็นวังวนไม่รู้จบ ในขณะเดียวกันก็เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ การศึกษา และ ความเท่าเทียม
“เจ้าชายวิลเลียม” แนะมหาเศรษฐีควรมุ่งช่วยโลก มากกว่าแข่งธุรกิจท่องเที่ยวอวกาศ
สาเหตุของปัญหาความความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ เกิดจากกับดักความความยากจน ทำให้ผู้คนไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ การขาดการลงทุนในภาคการเกษตร เช่น ขาดโครงสร้างพื้นฐานหรือการจัดการทางการเกษตรที่ดี ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ขาดความมั่นคงทางอาหาร ขณะที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) – ทำให้ภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ภัยแล้ง และพายุ มีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย
ที่ผ่านมาทั่วโลกต่างทุ่มเทและพยายามเป็นอย่างมากในการแก้ไขปัญหานี้ โดยได้ร่วมกันกำหนดให้การขจัดปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ เป้าหมายล่าสุด คือ การขจัดปัญหาความความอดอยาก หิวโหย ให้หายไปอย่างสิ้นเชิงภายในปี 2573 โดยเป้าหมายนี้ถูกกำหนดเป็น 1 ใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งมีกรอบระยะเวลา 15 ปี (ปี 2558-2573)
ในปี 2020 วันอาหารโลก ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด-19 จากการขนส่งอาหารช้าลง ด้วยข้อจำกัดหลายด้าน และ ประชากรประสบปัญหาการเข้าถึงอาหาร FAO จึงต้องทำงานร่วมกับเกษตรกรและภาครัฐอย่างรวดเร็วด้วยการใช้โซเชียลมีเดีย เพื่อสร้างความตระหนักถึงการดูแลและป้องกันภาคการเกษตร เช่น
เปรู ชาวสวนเรียนรู้วิธีการปลูกกล้วยออร์แกนิกจาก FAO เพื่อจัดหาอาหารส่งให้กับนักเรียนที่บ้าน
จอร์เจีย ชาวสวนจาก 22 เขต ได้รับเงินทุน 75 เปอร์เซ็นต์ช่วยเหลือการปลูกผัก เรียนรู้การใช้เทคนิคปลูกผัก และติดตั้งระบบน้ำหยด
ปากีสถาน FAO ส่งสัตว์ให้กับปศุสัตว์ในเขตพื้นที่ห่างไกล เพื่อช่วยเหลือปศุสัตว์ในท้องถิ่น รวมถึงเพิ่มทักษะการทำฟาร์มทางธุรกิจ โดยการสร้างโรงเรียนชาวนา
โอมาน เริ่มใช้เทคโนโลยีช่วยขายปลา ด้วยการประมูลปลาออนไลน์ โดยมีเจ้าหน้าที่ของ FAO ช่วยนำร่องแพลตฟอร์มดิจิทัลนี้ เพื่อลดข้อจำกัดการเดินทางให้กับพ่อค้าปลา
สหรัฐฯ เจอวิกฤตขนส่งสินค้า-น้ำมันแพง
นอกจากนี้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมีบทบาทสำคัญในการขจัดความยากจน และจัดการปัญหาความหิวโหยทั่วโลกโดยมีโครงการที่น่าสนใจ เช่น
โครงการ H2Grow (ที่ประเทศแอลจีเรีย) ปี 2559 ชุดไฮโดรโพนิกส์ในร่มแบบ DIY สำหรับปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ทำให้มีอาหารเลี้ยงสัตว์ที่มีคุณภาพและมีปริมาณเพียงพอตลอดทั้งปี ส่งผลให้มีนมและโปรตีนเนื้อสัตว์ที่มีคุณภาพตลอดทั้งปี
โครงการ Groasis (ที่ประเทศโคลัมเบีย) ปี 2560 ชุดกักเก็บและให้น้ำราคาประหยัดสำหรับเลี้ยงไม้ยืนต้นระยะ 1 ปีแรก สามารถปลูกในพื้นที่ร้อนและแห้งแล้ง โดยมีอัตรารอดสูงถึง 90% ในขณะเดียวกันก็สามารถเพาะปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ดอก รวมถึงไม้พุ่มพร้อมกันได้ด้วย ประหยัดน้ำมากถึง 90% เมื่อเทียบกับวิธีน้ำหยด
โครงการ ColdHubs (ที่ประเทศแทนซาเนีย) ปี 2560 ตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์ให้เช่าราคาประหยัดสำหรับแหล่งเพาะปลูกและแหล่งค้าขายในชุมชน ช่วยลดการสูญเสียผลผลิตทางการเกษตรเนื่องจากการเน่าเสียซึ่งมีมากถึง 1 ใน 4 ของผลผลิตทั้งหมด
โครงการ Dalili (ที่ประเทศเลบานอน) ปี 2560 แอปพลิเคชันสำรวจราคาสินค้าในร้านค้าประชารัฐที่ร่วมโครงการกับ WFP ทำให้ผู้ลี้ภัยสงครามในประเทศเลบานอนสามารถบริหารค่าใช้จ่ายสำหรับสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อครัวเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการ AgriUp (ประเทศกัวเตมาลา) ปี 2559 แอปพลิเคชันแจ้งเตือนพยากรณ์อากาศ ให้คำแนะนำทางการเกษตร และเคล็ดลับเกี่ยวกับการให้ปุ๋ย โดยอาศัยข้อมูลจากดาวเทียมที่มีความละเอียดและแม่นยำสูง ทำให้สามารถลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ รวมถึงเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้อีกด้วย
อ้างอิง
www.nia.or.th ,www.thairath.co.th ,www.kapook.com
อัปเดตข่าวล่าสุดก่อนใคร Add friend ได้ที่ @PPTVOnline
Table of Contents
[Update] “วันอาหารโลก” ชวนผู้คนทั่วโลกช่วยกันขจัดความหิวโหย | ข่าว โลก วัน นี้ – POLLICELEE
องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations, FAO) กำหนดให้วันที่ 16 ตุลาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันก่อตั้ง FAO เป็นวันอาหารโลก (World Food Day) เพื่อกระตุ้นเตือนให้ทุกภาคส่วนร่วมกันขจัดความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ ที่ผู้คนหลายร้อยล้านคนทั่วโลกกำลังเผชิญอยู่ ในโลกสมัยใหม่ที่เทคโนโลยีเข้ามีบทบาทมากขึ้น จึงมีโครงการที่ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยเพิ่มผลผลิตและเพาะปลูกในภาวะที่แห้งแล้ง
“โครงการอาหารโลก” คว้าโนเบลสันติภาพ
อาหาร-น้ำปนเปื้อน คร่าชีวิตมนุษย์ถึง 4.2 แสนคน/ปี มากกว่าโรคเอดส์!
ที่มาของวันอาหารโลกเกิดขึ้นวันแรกในปี พ.ศ. 2524 รัฐสมาชิกขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ในการประชุมทั่วไปครั้งที่ 20 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2522 คณะผู้แทนฮังการี นำโดยอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและอาหารของฮังการี ดร.พอล โรมานี เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในสมัยการประชุมครั้งนั้น ได้เสนอแนวคิดในการเฉลิมฉลองวันอาหารโลกทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งให้ประเทศต่าง ๆ มีจิตสำนึกเรื่องอาหารและการพัฒนา เสริมสร้างความสมานฉันท์ระดับชาติ และ นานาชาติในการต่อสู้กับความอดอยากหิวโหย
มีการตั้งคำถามว่าความอดอยาก ความหิวโหย และทุพโภชนาการ เกิดจากอะไร?
- อาหารที่ถูกผลิตออกมาในแต่ละปีมีปริมาณเพียงพอต่อการเลี้ยงประชากรทุกคนบนโลกนี้
- ประชากรกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก หรือประมาณ 1 ใน 9 ของประชากรโลก ยังคงประสบกับปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการอยู่
- คนเหล่านี้มักจัดอยูในกลุ่มคนที่ไม่มีพื้นที่ให้เพาะปลูก หรือไม่ก็ไม่มีเงินซื้ออาหาร
- 98% ของปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยอยู่ในทวีปเอเชียกว่า 500 ล้านคน
ความอดอยาก และ ความหิวโหย เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เด็กๆ ต้องลาโลกไปก่อนวัยอันควร โดยในปี 2010 มีเด็กตายกว่า 7.6 ล้านคน หรือคิดเป็น 20,000 คนต่อวัน ในจำนวนนี้ มากกว่าครึ่งหนึ่งเกิดจากสาเหตุทางด้านโภชนาการ เด็ก 1 ใน 15 คน ในประเทศกำลังพัฒนาที่เสียชีวิตก่อนอายุครบ 5 ปี ปัญหานี้ทำให้คนไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำมาซึ่งความยากจนและอดอยาก เป็นวังวนไม่รู้จบ ในขณะเดียวกันก็เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ การศึกษา และ ความเท่าเทียม
“เจ้าชายวิลเลียม” แนะมหาเศรษฐีควรมุ่งช่วยโลก มากกว่าแข่งธุรกิจท่องเที่ยวอวกาศ
สาเหตุของปัญหาความความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ เกิดจากกับดักความความยากจน ทำให้ผู้คนไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ การขาดการลงทุนในภาคการเกษตร เช่น ขาดโครงสร้างพื้นฐานหรือการจัดการทางการเกษตรที่ดี ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ขาดความมั่นคงทางอาหาร ขณะที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) – ทำให้ภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ภัยแล้ง และพายุ มีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย
ที่ผ่านมาทั่วโลกต่างทุ่มเทและพยายามเป็นอย่างมากในการแก้ไขปัญหานี้ โดยได้ร่วมกันกำหนดให้การขจัดปัญหาความอดอยาก หิวโหย และทุพโภชนาการ เป้าหมายล่าสุด คือ การขจัดปัญหาความความอดอยาก หิวโหย ให้หายไปอย่างสิ้นเชิงภายในปี 2573 โดยเป้าหมายนี้ถูกกำหนดเป็น 1 ใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งมีกรอบระยะเวลา 15 ปี (ปี 2558-2573)
ในปี 2020 วันอาหารโลก ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด-19 จากการขนส่งอาหารช้าลง ด้วยข้อจำกัดหลายด้าน และ ประชากรประสบปัญหาการเข้าถึงอาหาร FAO จึงต้องทำงานร่วมกับเกษตรกรและภาครัฐอย่างรวดเร็วด้วยการใช้โซเชียลมีเดีย เพื่อสร้างความตระหนักถึงการดูแลและป้องกันภาคการเกษตร เช่น
เปรู ชาวสวนเรียนรู้วิธีการปลูกกล้วยออร์แกนิกจาก FAO เพื่อจัดหาอาหารส่งให้กับนักเรียนที่บ้าน
จอร์เจีย ชาวสวนจาก 22 เขต ได้รับเงินทุน 75 เปอร์เซ็นต์ช่วยเหลือการปลูกผัก เรียนรู้การใช้เทคนิคปลูกผัก และติดตั้งระบบน้ำหยด
ปากีสถาน FAO ส่งสัตว์ให้กับปศุสัตว์ในเขตพื้นที่ห่างไกล เพื่อช่วยเหลือปศุสัตว์ในท้องถิ่น รวมถึงเพิ่มทักษะการทำฟาร์มทางธุรกิจ โดยการสร้างโรงเรียนชาวนา
โอมาน เริ่มใช้เทคโนโลยีช่วยขายปลา ด้วยการประมูลปลาออนไลน์ โดยมีเจ้าหน้าที่ของ FAO ช่วยนำร่องแพลตฟอร์มดิจิทัลนี้ เพื่อลดข้อจำกัดการเดินทางให้กับพ่อค้าปลา
สหรัฐฯ เจอวิกฤตขนส่งสินค้า-น้ำมันแพง
นอกจากนี้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมีบทบาทสำคัญในการขจัดความยากจน และจัดการปัญหาความหิวโหยทั่วโลกโดยมีโครงการที่น่าสนใจ เช่น
โครงการ H2Grow (ที่ประเทศแอลจีเรีย) ปี 2559 ชุดไฮโดรโพนิกส์ในร่มแบบ DIY สำหรับปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ทำให้มีอาหารเลี้ยงสัตว์ที่มีคุณภาพและมีปริมาณเพียงพอตลอดทั้งปี ส่งผลให้มีนมและโปรตีนเนื้อสัตว์ที่มีคุณภาพตลอดทั้งปี
โครงการ Groasis (ที่ประเทศโคลัมเบีย) ปี 2560 ชุดกักเก็บและให้น้ำราคาประหยัดสำหรับเลี้ยงไม้ยืนต้นระยะ 1 ปีแรก สามารถปลูกในพื้นที่ร้อนและแห้งแล้ง โดยมีอัตรารอดสูงถึง 90% ในขณะเดียวกันก็สามารถเพาะปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ดอก รวมถึงไม้พุ่มพร้อมกันได้ด้วย ประหยัดน้ำมากถึง 90% เมื่อเทียบกับวิธีน้ำหยด
โครงการ ColdHubs (ที่ประเทศแทนซาเนีย) ปี 2560 ตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์ให้เช่าราคาประหยัดสำหรับแหล่งเพาะปลูกและแหล่งค้าขายในชุมชน ช่วยลดการสูญเสียผลผลิตทางการเกษตรเนื่องจากการเน่าเสียซึ่งมีมากถึง 1 ใน 4 ของผลผลิตทั้งหมด
โครงการ Dalili (ที่ประเทศเลบานอน) ปี 2560 แอปพลิเคชันสำรวจราคาสินค้าในร้านค้าประชารัฐที่ร่วมโครงการกับ WFP ทำให้ผู้ลี้ภัยสงครามในประเทศเลบานอนสามารถบริหารค่าใช้จ่ายสำหรับสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อครัวเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการ AgriUp (ประเทศกัวเตมาลา) ปี 2559 แอปพลิเคชันแจ้งเตือนพยากรณ์อากาศ ให้คำแนะนำทางการเกษตร และเคล็ดลับเกี่ยวกับการให้ปุ๋ย โดยอาศัยข้อมูลจากดาวเทียมที่มีความละเอียดและแม่นยำสูง ทำให้สามารถลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ รวมถึงเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้อีกด้วย
อ้างอิง
www.nia.or.th ,www.thairath.co.th ,www.kapook.com
อัปเดตข่าวล่าสุดก่อนใคร Add friend ได้ที่ @PPTVOnline
CareTalk x CareClubHouse : “Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?
“Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?
.
.
ในขณะที่มนุษยชาติกำลังมุ่งหน้าสู่ “Metaverse” โลกเสมือนจริงที่สร้างจากเทคโนโลยีอันซับซ้อน เพื่อเชื่อมโลกดิจิทัลกับโลกความเป็นจริงเข้าด้วยกัน
.
โลกที่แข่งขันกันพัฒนา Quantum Computing, Cryptocurrency และ AI เพื่อช่วยให้ชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
.
โลกที่ใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์สภาพดินฟ้าอากาศ ปรับภูมิประเทศ เพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตทางการเกษตร อย่างอิสราเอลซึ่งใช้เทคโนโลยีเพื่อพลิกทะเลทรายให้เป็นแปลงการเกษตร และบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
.
แต่ตัดภาพกลับมาที่นายกฯ ไทย แก้ปัญหาราคาสินค้าเกษตร��พงด้วยการให้ทหารไปปลูกผักชี! (โอ้ พระเจ้า)
.
พบกันในครั้งนี้ พี่โทนี่จะพูดถึงเรื่องราวของเทคโนโลยีล้ำหน้าที่กำลังเป็นที่สนใจไปทั่วโลกอย่าง Metaverse จนถึงเรื่อง “ข้าวถูกแต่ผักแพง” ซึ่งกำลังเป็นปัญหาใหญ่ในบ้านเราขณะนี้
.
และแน่นอนว่า พี่โทนี่จะมาไขข้อสงสัยต่างๆที่ค้างคาใจใครหลายๆ คน \”ให้กระจ่าง\”
.
ใครมีข้อสงสัยเตรียมเอาไว้ถามได้เลยกับรายการ CareTalk x Care Clubhouse ในหัวข้อ
“Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?
แล้วพบกัน…
.
Metaverse
เทคโนโลยีเพื่อการเกษตร
คิดเคลื่อนไทย
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ผ่าประเด็นโลก | 12 พ.ย. 64 | FULL | TOP NEWS
ผ่าประเด็นโลก
พบกับ สถาพร เกื้อสกุล และ อุบลรัตน์ เถาว์น้อย
ย่อโลกให้เล็กลง ขยายข่าวให้ลึกขึ้น ให้ข่าวร้อนระดับโลก อยู่กับคุณ ในผ่าประเด็นโลก
ติดตามได้ทุกวัน จันทร์ ศุกร์ 10.00 11.00 น.
ติดตาม TOP NEWS ข่าวเด่น : https://bit.ly/topnewskhaoden
ติดต่อ โฆษณา worarak@topnews.co.th
ดาวน์โหลดแอป TOP NEWS
ios : https://bit.ly/TopnewsIOS
android : https://bit.ly/TopnewsAndroid
ติดตามข่าวสารจากทางเราได้ จากทุกๆ ช่องทาง
กล่อง PSI, INFOSAT, GMMZ, IPM , CSAT, TIK , 3BB, TOT ช่องหมายเลข 77 , AIS ช่องหมายเลข 658
Youtube : https://bit.ly/YoutbTopTV
FB : https://bit.ly/FBTOPTV
IG : https://bit.ly/IGTOPTV
Twitter : https://bit.ly/TWTOPTV
Line : @topnews
Website : https://www.topnews.co.th
กลุ่มแฟนรายการ ผ่าประเด็นโลก : https://bit.ly/3jcKm2E
TOPTV TOPNEWS ผ่าประเด็นโลก สถาพร อุบลรัตน์
“ไทย”มีลุ้นหิมะตก? ลมขั้วโลกไม่เสถียร“จีน”หนาวนาน | TNN ข่าวค่ำ | 11 พ.ย. 64
หลายพื้นที่ในจีน และมองโกเลียใน เผชิญหิมะตกหนักและอุณหภูมิที่ลดลงอย่างรวดเร็ว หิมะยังตกหนักและยาวนานกว่าปกติประมาณ 3สัปดาห์ การที่สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงแปลง และแปรปรวน มีหลายปัจจัยหนึ่งในนั้นคือ กระแสลมขั้วโลกที่ไม่เสถียรจากเดิมที่จะมีทิศทางเป็นวงกลม แต่กลับมีทิศทางวงรีหรือหมุนขึ้นลง ทำให้สภาพอากาศในบางพื้นที่ได้รับผลกระทบอย่างรวดเร็วและกลับมาสู่ภาวะปกติอีกครั้ง ส่วนไทยในช่วงปลายเดือนธันวาคมจะได้รับผลกระทบจากมวลอากาศเย็นจากจีนมากที่สุด ทำให้อุณหภูมิลดลงจากปกติอีก0.51องศาเซลเซียส ส่วนจะได้สัมผัสหิมะตกหรือไม่นั้น มีปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยนอกเหนือจากความเย็น
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
https://www.tnnthailand.com
https://tv.trueid.net/live/tnn16
https://www.youtube.com/c/tnn16
https://www.facebook.com/TNNthailand/
https://www.facebook.com/TNN16LIVE/
https://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnn_online/
https://www.tiktok.com/@tnnonline
Line @TNNONLINE หรือคลิก https://lin.ee/4fP2tltIo
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ
ไทยครองอันดับมหาเศรษฐี สะท้อนความเหลื่อมล้ำ ? | จั๊ดซัดทุกความจริง | ข่าวช่องวัน
ไทยครองอันดับ 10 ประเทศที่มี ‘มหาเศรษฐี’ มากที่สุดในโลก 52 คน แต่สถิติคนไทยจนลง สะท้อนความเหลื่อมล้ำ รวยกระจุกจนกระจาย เทียบกรณี WFP ของ UN ให้ อีลอนมัสก์ บริจาคเศษเงิน ช่วยปัญหาอดยาก 42 ล้านคนทั่วโลก มหาเศรษฐี ความเหลื่อมล้ำ จั๊ดซัดทุกความจริง
_______________________________________
\”ข่าวช่องวัน เข้าถึงข่าว เข้าถึงคุณ\”
ติดตามชม ข่าวช่องวัน ได้ตลอดทั้งวันทางหน้าจอ ช่องวัน31
และติดตามช่องทางได้ดังนี้
Facebook / Instagram / Twitter / TikTok / Youtube : onenews31
“เวียดนาม”โควิดพุ่ง 1 ล้านจากเดลตา “ยุโรป”เสียชีวิตรอบ7วันเกินครึ่งทั่วโลก | TNN ข่าวค่ำ | 13พ.ย.64
องค์การอนามัยโลก เตือน ยุโรปเผชิญผู้ติดเชื้อโควิด19 เพิ่มสูงขึ้น มีการยืนยันผู้ติดโควิดรายใหม่เกือบ 2 ล้านคนในทวีปยุโรป ตั้งแต่วันที่ 17 พ.ย.ถือเป็นตัวเลขสูงสุดตั้งแต่โควิดเริ่มระบาด และยังมีผู้เสียชีวิตเพิ่มอีกเกือบ 27,000 คนในรอบสัปดาห์ ซึ่งเป็นจำนวนผู้เสียชีวิตที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้เสียชีวิตจากโควิดทั่วโลก ส่วนเวียดนามยอดติดเชื้อสะสมทะลุกว่า 1 ล้านคนแล้ว วันนี้(13พ.ย.)มีรายใหม่ติดเชื้อรายใหม่เกือบ 9,000 กระจายใน 56 จังหวัดและเมือง ส่วนยอดผู้เสียชีวิตเพิ่มสูงในหลายเมือง โดยเฉพาะในนครโฮจิมินห์ เป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของสายพันธุ์เดลตา
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
https://www.tnnthailand.com
https://tv.trueid.net/live/tnn16
https://www.youtube.com/c/tnn16
https://www.facebook.com/TNNthailand/
https://www.facebook.com/TNN16LIVE/
https://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnn_online/
https://www.tiktok.com/@tnnonline
Line @TNNONLINE หรือคลิก https://lin.ee/4fP2tltIo
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่General news
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ข่าว โลก วัน นี้